วันจันทร์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2551

ซักเสื้อผ้าก่อนใส่ กันด้วยนะ
ซักชั้นในก่อนใส่ให้เป็นนิสัย มันเป็นเรื่องละเอียดอ่อนมาก ๆ นะ เพราะชั้นในเหล่านี้ถูกผลิตจากที่ต่าง ๆ กันทั่วโลก บรรจุลงกล่อง และผ่านมาแล้วหลายมือหลายขั้นตอนกว่าที่เราจะได้ซื้อมันมาใส่เอง เพราะเราไม่สามารถรู้ได้เลยว่ามีตัวปรสิตอะไรบ้างที่อาศัยอยู่ในเสื้อผ้าตอนที่เราซื้อมันมา นักมนุษยวิทยาซูซาน แมคคินเลย์กลับมาบ้านหลังจากการทดลองที่อเมริกาใต้ เธอสังเกตว่าอกซ้ายของเธอมีความผิดปรกติแปลก ๆ บางอย ่าง ไม่มีใครรู้ว่ามันคืออะไรและเธอก็ไม่ได้สนใจอะไรเพราะคิดว่าเดี๋ยวโพรงเหล่านี่ก็จะหายไปเอง
เธอตัดสินใจไปหาหมอหลังจากที่เริ่มเจ็บปวดมากขึ้น หมอก็ไม่รู้แน่ชัดว่ามันคือเชื้อโรคอะไร แต่ก็ได้ให้ยาแอนตี้ไบโอติกกับครีมพิเศษกับเธอ เวลาล่วงเลยไปแต่ความเจ็บปวดก็ไม่บรรเทาลง อกซ้ายของเธอเริ่มบวมและมีเลือดออก เธอตัดสินใจพันแผลไว้ แต่เมื่อความเจ็บปวดทวีมากขึ้น เธอก็พยายามหาหมอที่มีความเชี่ยวชาญมากขึ้น ดร.ลินช์ไม่สามารถวินิจฉัยโรคนี้ได้และได้แนะนำเธอให้ไปขอรับความช่วยเหลือจากเพื่อนคนหนึ่งของเขาซึ่งเชี่ยวชาญด้านโรคผิวหนัง ซึ่งน่าเสียดายที่เขากำลังหยุดงานอยู่ เธอรอคอยถึง 2 สัปดาห์และในที่สุดก็สามารถพบผู้เชี่ยวชาญโรคผิวหนังได้ น่าเศร้าที่เหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงชีวิตได้คลี่คลายออกมาระหว่างการนัดพบ หลังจากที่เธอนำผ้าพันแผลออก ซูซานก็ประหลาดใจอย่างมากเมื่อพบว่ามีตัวอ่อนกำลังเติบโตและดิ้นอยู่ภายในโพรงของทรวงอกที่ปวดร้าวของเธอ บางทีสิ่งมีชีวิตที่เลวร้ายนี้อาจกำลังเคลื่อนไหวพร้อม ๆ กันไปยังรอยแยกอื่น ๆ และ สิ่งที่เธอไม่เคยรู้มาก่อนก็คือโพรงนั้นลึกเกินกว่าที่เธอคิดไว้ในตอนแรก และเจ้าตัวอ่อนที่น่ารังเกียจพวกนี้ก็ถูกเลี้ยงดูฟูมฟักด้วยไขมัน เนื้อเยื่อและต่อมน้ำนมจากอกของเธอเอง บรื๋ออออ ช่วย กันส่งต่อให้ทุก ๆ คนที่คุณรู้จักกันเถอะ แหวะ !!
ที่มา FWD mail
เนื่องจาก ภาพนี้เป็นภาพที่เคยเห็นมานานแล้ว แต่ไม่แน่ใจว่า เป็นภาพปรับแต่ง ตัดต่อหรือไม่ อย่างไร ผ่านมาอีกหลายปี เลยได้ฟอร์เวิร์ดเมล์ ที่ส่งมาพร้อมข้อความ แต่ก็ไม่ทราบว่าเป็นข้อเท็จจริงประการใด เลยเอามาให้อ่านเตือนใจเอาไว้ แม้จะจริงหรือไม่จริง .. บทความแบบนี้ อ่านไปก็ไม่เสียหาย นอกจากเพิ่มความระมัดระวัง ใส่ใจความสะอาด และสุขภาพให้มากๆ ขึ้น จริงมั้ยจ๊ะ.. ซักเสื้อผ้าก่อนใส่ ดีที่สุดจ้า

วันพุธที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2551

ประวัติความเป็นมาของ วันแม่ ^0^

ชาวอเมริกันเป็นผู้กำหนดให้มีวันแม่อย่างเป็นทางการขึ้น และผู้ที่พยายามเรียกร้องให้มีวันแม่ในอเมริกา คือ แอนนา เอ็ม. จาร์วิส คุณครูแห่งรัฐฟิลาเดลเฟีย แต่กว่าเธอจะประสบความสำเร็จก็ครบ 2 ปีพอดีในปี ค.ศ.1914 (พ.ศ.2457) โดยประธานาธิบดี วูดโรว์ วิลสัน ได้มีคำสั่งให้ถือวันอาทิตย์ที่ 2 ของเดือนพฤษภาคมเป็นวันแม่แห่งชาติ และดอกไม้สำหรับวันแม่ของชาวอเมริกันก็คือดอกคาร์เนชั่น ซึ่งจะแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือถ้าแม่ยังมีชีวิตอยู่ให้ประดับตกแต่งบ้าน หรือประตูด้วยดอกคาร์เนชั่นสีชมพู แต่ถ้าแม่ถึงแก่กรรมไปแล้วให้ประดับด้วยดอกคาร์เนชั่นสีขาว สำหรับในประเทศไทยนั้นมีการจัดงานวันแม่ขึ้นเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ.2486 ณ.สวนอัมพร โดยมีกระทรวงสาธารณสุขเป็นผู้จัดงาน แต่เนื่องจากช่วงนั้นเป็นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 งานวันแม่ในปีต่อมาจึงต้องงดไปโดยปริยาย หลังจากผ่านพ้นวิกฤติสงครามไปแล้ว หลายหน่วยงานได้พยายามรื้อฟื้นให้มีวันแม่ขึ้นมาอีก แต่ก็ไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร และมีการเปลี่ยนกำหนดวันแม่ไปหลายครั้ง แต่กำหนดวันแม่ที่ประชาชนนิยม และเป็นที่รับรองของรัฐบาล คือวันที่ 15 เมษายน โดยเริ่มจัดมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2493 กำหนดงานวันแม่ในวันนี้ยังดำเนินต่อมาอีกหลายปี ก็ต้องมาหยุดชะงักลงอีก ด้วยเหตุผลที่ว่าสภาวัฒนธรรมแห่งชาติผู้จัดงานวันแม่ขาดผู้สนับสนุน ซึ่งก็คือกระทรวงวัฒนธรรมที่ถูกยุบไปนั่นเอง ต่อมาสมาคมครูคาทอลิกแห่งประเทศไทย เห็นว่าควรมีการจัดงานวันแม่ต่อไป จึงได้รื้อฟื้นงานวันแม่ขึ้นมาอีก และได้กำหนดให้จัดงานวันแม่ คือวันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ.2515 แต่จัดได้เพียงปีเดียวก็เลิกไป จนกระทั่งในปี พ.ศ.2519 คณะกรรมการอำนวยการสภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์เห็นว่าควรกำหนดวันแม่ให้แน่นอนเสียที จึงได้กำหนดวันแม่ใหม ่โดยให้ถือว่าวันเสด็จพระราชสมภพของสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ วันที่ 12 สิงหาคม เป็นวันแม่แห่งชาติ และ กำหนดให้ดอกมะลิเป็นดอกไม้สัญลักษณ์ของวันแม่ตั้งแต่นั้นมา เหตุผลที่ให้ดอกมะลิ เป็นดอกไม้สัญลักษณ์ของวันแม่ ก็เนื่องจาก ดอกมะลิเป็นดอกไม้ที่มีสีขาวบริสุทธิ์ ส่งกลิ่นหอมไปไกลและหอมได้นาน อีกทั้งยังออกดอกได้ตลอดทั้งปี เปรียบได้กับความรักอันบริสุทธิ์ของแม่ที่มีต่อลูกไม่มีวันเสื่อมคลาย... นักภาษาศาสตร์ได้ตั้งข้อสังเกตไว้ว่า คำว่า "แม่" ของทุก ๆ ภาษา มาจากการออกเสียงของเด็ก โดยคำขึ้นต้นด้วยพยัญชนะริมฝีปากคู่ (Bilabial) ได้แก่ ม , พ , ป ,บ หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นพยัญชนะชุดแรกที่เด็กสามารถทำเสียงได้ โดยการใช้ริมฝีปากบนและล่าง ดังเช่น

ภาษาไทย แม่
ภาษาจีน ม๊ะ หรือ ม่า
ภาษาฝรั่งเศส la mere (ลา แมร์)
ภาษาอังกฤษ mom , mam
ภาษาโซ่ ม๋เปะ
ภาษามุสลิม มะ
ภาษาไทใต้คง เม

วันอาทิตย์ที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2551

Ethnicité

En 2006, l'Institut national de la statistique et des études économiques (INSEE) estimait que 4,9 millions d'étrangers (comprendre nés hors du territoire) vivaient en France (8% de la population). Il faut aussi noter que sont considérés comme français les enfants de parents immigrés (droit du sol) et non comme étrangers. Par conséquent, le nombre de citoyens français d'origine étrangère est considéré autour de 6,7 millions d'après le recensement de 1999 de l'INSEE - ce qui représente environ 1/10 de la population française. De nombreuses ethnies sont présentes dans les DOM-TOM.La plupart des immigrés viennent d'Europe (Grèce, Portugal, Espagne, Italie, mais aussi Pologne, Roumanie et les pays formant l'ancienne Yougoslavie), du Maghreb et d'Afrique noire, notamment ses anciennes colonies. La proportions d'étrangers en France est comparable aux autres pays européens comme le Royaume-Uni (15%), l'Allemagne (9%), les Pays-Bas (18%), la Suède (13%) et la Suisse (19%).Selon Michèle Tribalat, chercheur à l'INED, le nombre d'immigrés est très difficile à estimer à cause de l'absence de statistiques officielles. Seules trois études ont été menées : en 1927, 1942 et 1986. D'après une étude de 2004, près de 14 millions de personnes avaient au moins un parent ou un grand-parent étranger.

วันอังคารที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2551

Industrie

La France est une des plus grandes puissances industrielles du monde. Dans leur secteur d'activité, plusieurs groupes français occupent même la première place face à leurs concurrents étrangers : c'est le cas notamment de L'Oréal, Michelin ou Alcatel. Malgré une domination du secteur des services, les bureaux d'études, les sociétés d'ingénierie et le « tertiaire technologique », les nouvelles formes d'industries sont très diversifiées et sont performantes dans les domaines où les structures se sont adaptées aux contraintes du marché (aérospatiale, télécommunications, micro-informatique), et se retrouvent souvent en association avec des partenaires européens.Les branches aspirant le plus grands nombres d'employés sont les industries de la mécanique, de l'électrique et de l'électronique (25 % en 1998), le travail des métaux (11,7 %) et le bois-papier-imprimerie-édition (10,2 %). Aussi, l'automobile occupe une place particulière dont la production annuelle, de l'ordre de 5 millions de véhicules, est assurée par quelque 300 000 salariés de grands groupes (Peugeot-Citroën, Renault).Avec 88 % de ses entreprises ayant moins de 200 salariés en 1998, l'industrie française est peu concentrée. Il faut considérer qu'à côté de grands et très grands groupes, coexistent et prospèrent de très nombreuses petites et moyennes entreprises (PME) qui souvent exercent des activités de sous-traitance.